References or Bibliography

researcherthailand

ส่วนเอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม
ส่วนเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม (References or Bibliography) จะแสดงรายชื่อหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ บุคคล และวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และที่ได้อ้างถึงในส่วนนำและเนื้อความ เพื่อให้ผู้สนใจสามารถค้นคว้าข้อมูลเหล่านั้นในเชิงลึกต่อไป
วิทยานิพนธ์บางเล่มอาจมี ภาคผนวก (Appendix) เพื่อใช้นำเสนอข้อมูลต่างๆ หรือสิ่งที่จะช่วยให้เข้าใจสาระของวิทยานิพนธ์ดียิ่งขึ้น เนื้อหามักประกอบด้วยเอกสารข้อเท็จจริงต่างๆ ดังนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนเนื้อเรื่อง ข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้จากการปฏิบัติการ เช่น การทดลอง การศึกษาเฉพาะกรณี สำเนาเอกสารหายาก คำอธิบายระเบียบวิธี กระบวนการและวิธีการรวบรวมข้อมูล แบบฟอร์ม แบบสำรวจ แบบสอบถาม ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ คำอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอน หรือวิธีการ นามานุกรม (directory) ของบุคคลที่อ้างถึงในวิทยานิพนธ์
หน้าสุดท้ายของวิทยานิพนธ์ มักมีประวัติผู้เขียน (Curriculum vitae หรือ Vita) ซึ่งเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติการศึกษาและการทำงานของผู้เขียน ประวัติผู้เขียนโดยทั่วไป ประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล พร้อมคำนำหน้า ได้แก่ นาย นางสาว นาง ยศ บรรดาศักดิ์ ราชทินาม สมณศักดิ์ พร้อมทั้งวันเดือนปีและสถานที่เกิด วุฒิการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าขึ้นไป สถานศึกษา และ พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา รวมทั้งประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ รางวัล หรือทุนการศึกษาเฉพาะที่สำคัญ ตำแหน่งและสถานที่ทำงานของผู้เขียน
ปัจจุบันในการจัดการบรรณานุกรม สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดการบรรณานุกรม หรือรายการที่นำมาอ้างอิงได้ ตัวอย่างเช่น โปรแกรม EndNote Procite ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการลงรายการอ้างอิงที่สมบูรณ์และถูกต้อง

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย