7เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยทางธุรกิจ

researcherthailand

การเขียนรายงานการวิจัยมีการกำหนดรูปแบบที่ชัดเจน มีระเบียบและสอดคล้องกันทั้งเล่ม ดังนั้น องค์ประกอบของการเขียนรายงานการวิจัยจึงมีหลายองค์ประกอบที่ควรพิจารณา คือ

  1. รูปแบบการพิมพ์จะต้องตรงตามระเบียบวิธี สวยงาม มีองค์ประกอบของรายงานครบถ้วน เช่น การจัดตัวอักษรเข้ม ใหญ่ เล็ก ตามลำดับ มีหัวข้อย่อย และหัวข้อรอง และสอดคล้องกันทั้งเล่ม
  2. การนำเสนอเนื้อหาต้องมีความชัดเจน ตรงประเด็น มีการตรวจสอบความถูกต้องตลอดทั้งเล่ม และมีสาระที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่อง ไม่นำความรู้สึกส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง
  3. ความถูกต้องของเนื้อหาตามหลักวิชาการ และเนื้อหาอย่างมีเหตุผล
  4. ความสอดคล้องสัมพันธ์กันของเนื้อหาตลอดทั้งเล่ม ไม่ควรทำรายงานงานการวิจัยในรูปแบบคัดลอกและตัดปะ
  5. การอ้างอิงจะต้องถูกต้องและเชื่อถือได้ อ้างอิงตามหลักเกณฑ์ทางวิชาการ
  6. เป้าหมายของรายงานผลการวิจัย ควรพิจารณาว่าใครเป็นผู้อ่าน เพื่อการเขียนที่สอดคล้องกับผู้อ่าน
    หลักการใช้ภาษา ควรพิจารณาว่าใครเป็นผู้อ่าน เพื่อการเขียนที่สอดคล้องกับผู้อ่าน
  7. หลักการใช้ภาษาต้องถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ เขียนให้อยู่ในรูปของประโยค ไม่ใช่ภาษาพูด หรือ ภาษาสมัยนิยม เน้นเนื้อหาที่สมบูรณ์และมีเหตุผล เข้าใจง่าย รวมถึงการใช้ถ้อยคำที่สุภาพ
    การเขียนรายงานวิจัยเป็นงานวิชาการที่ต้องมีความสม่ำเสมอทั้งระบบ มีระเบียบแบบแผน รูปแบบและความสวยงามที่เหมาะสม เพื่อทำให้ผู้อื่นรู้ว่าเราทำอะไร มีขั้นตอนอย่างไร อธิบายถึงเหตุผลในการดำเนินการวิจัยทางธุรกิจ และรายงานผลที่ได้จากการทำวิจัยทางธุรกิจ ในการเขียนรายงานการวิจัยมีรูปแบบและหลักการเขียนที่หลากหลายรูปแบบ ดังนั้นผู้วิจัยจึงควรศึกษาและวางแผนก่อนจะต้องตัดสินใจ และควรพิจารณาก่อนว่าจะเขียนรายงานการวิจัยเพื่อนำเสนอใคร รูปแบบการเขียนควรเป็นอย่างไร ซึ่งขึ้นอยู่กับหน่วยงานและผู้อ่านที่มีข้อกำหนดแตกต่างกัน จึงควรทำการศึกษาให้ละเอียด และควรเขียนต้นฉบับร่าง แล้วนำมาอ่านใหม่ตั้งแต่ต้นจนจบหลายๆ ครั้ง รวมถึงให้ผู้เกี่ยวข้องอ่านเพื่อวิจารณ์และเสนอแนะ นำมาแก้ไขปรับปรุงและเรียบเรียงใหม่ แล้วจึงนำส่งและลงพิมพ์เผยแพร่ต่อไป

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย