5 เทคนิคการตั้งชื่อเรื่องในการวิจัย

1. ตั้งจากความรู้ส่วนบุคคล
ผู้วิจัยหลายคุณที่เป็นนักศึกษาระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่แล้วจะมีความรู้ส่วนบุคคล มีความสนใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เพื่อจะทำการศึกษาต่อยอดในงานวิจัยในเรื่องที่เป็นความสนใจของตนเองอยู่แล้ว โดยเฉพาะความเชี่ยวชาญส่วนบุคคล ที่คุณสามารถนำจุดเด่นนั้นมาประยุกต์ใช้ในการตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย ได้
เช่น หากคุณศึกษาในสาขาการตลาด คุณควรโฟกัสเทคนิคทางการตลาดเฉพาะ มุ่งเน้นศึกษาจากทฤษฎี แนวคิด หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องในสาขาการตลาด เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับความรู้ส่วนบุคคลในการศึกษา ต่อยอดงานวิจัยไปได้

  1. ตั้งจากสถานการณ์ปัจจุบัน
    สภาพสังคม เศรษฐกิจ หรือสถานการณ์ปัจจุบัน เป็นประเด็นจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสภาพสังคมหรือเศรษฐกิจในปัจจุบันที่สามารถหยิบยกมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาวิจัยต่อยอด และนำมาตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย ได้
    การศึกษาวิจัยจากสภาพสังคม เศรษฐกิจ หรือสถานการณ์ปัจจุบันเหล่านี้ จะช่วยทำให้การศึกษา และการดำเนินการวิจัยได้ง่าย โดยเฉพาะหากสามารถใช้ทฤษฎี แนวคิดจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมารองรับเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ จะทำให้ผลงานวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ หรือสถานการณ์ปัจจุบันดังกล่าวนี้ มีความน่าเชื่อถือ รวมถึงเป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัยคุณอื่น ที่สนใจจะทำการศึกษาต่อยอดไปอีกได้
  2. ตั้งจากข้อเสนอแนะของงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    นอกเหนือจากการตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัยจากสภาพสังคม เศรษฐกิจ หรือสถานการณ์ปัจจุบันแล้ว การศึกษาต่อยอดงานวิจัยจากข้อเสนอแนะของงานวิจัยเล่มอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้วิจัยสนใจได้เช่นกัน
    ข้อเสนอแนะของงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการเรียบเรียงข้อสรุปและข้อคิดเห็นจากผู้วิจัยผลงานวิจัยเล่มดังกล่าว เพื่อให้ผู้ที่สนใจ หรือกำลังจะทำการศึกษาวิจัยในครั้งต่อไปทราบว่าควรศึกษาหัวข้อใด ประเด็นใด ควรใช้ตัวแปรใด จะทำให้ทราบแนวทางและสามารถนำประเด็นดังกล่าวที่ได้จากข้อเสนอแนะในงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนั้นมาตั้งเป็นตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย เพื่อศึกษาต่อยอดจากงานวิจัยเล่มดังกล่าวได้
    การที่นำข้อเสนอแนะของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาตั้งประเด็นปัญหาในงานวิจัยนี้มีข้อดีคือ คุณสามารถอ้างอิงตัวแปรที่มาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาสังเคราะห์เรียบเรียงเป็นเนื้อหาที่จะใช้ในการทำงานวิจัยได้ ซึ่งจะทำให้ประหยัดระยะเวลาที่จะใช้ในการสืบค้นข้อมูล การสร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้ง่ายขึ้น
  3. ตั้งจากบทความวิชาการ
    การนำบทความวิชาการมาใช้ในการตั้งหัวข้องานวิจัย ถือเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากบทความวิชาการในปัจจุบันจะมุ่งเน้นเกี่ยวกับประเด็นที่ทันสมัย โดยเฉพาะหัวข้อเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งสามารถนำบทความที่เกี่ยวกับกระแสนิยมเหล่านี้มาศึกษาและพัฒนาต่อยอดเป็นหัวข้องานวิจัย ที่จะใช้ในการศึกษาวิจัยได้
    โดยเฉพาะการพัฒนาให้หัวข้อบทความดังกล่าว จะทำให้ผู้วิจัยได้รับประโยชน์ในเรื่องการกำหนดขอบเขตตัวแปร หรือองค์ประกอบที่จะใช้ในการกำหนดกรอบแนวคิด ที่จะใช้การศึกษาวิจัยเล่มดังกล่าวได้ จะทำให้คุณประหยัดระยะเวลาในการสังเคราะห์ตัวแปร หรือกรอบแนวคิดในการวิจัยได้เป็นอย่างมาก
  4. ตั้งจากคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา
    นอกจากไอเดียทั้ง 4 ข้อข้างต้นแล้ว การขอคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาก็ถือว่าเป็นสิ่งที่จะทำให้นำไปตั้งเป็นตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัยได้โดยง่าย
    เนื่องจากอาจารย์ที่ปรึกษานั้นมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่ผู้วิจัยศึกษาอยู่แล้ว จึงมีองค์ความรู้ที่จะทำให้มีไอเดียในการตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย ที่น่าสนใจได้ และไม่ผิดกติกาแต่อย่างใด
    หากคุณสามารถนำข้อมูลดังกล่าวเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในการตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย ได้ ก็จะทำให้การทำงานวิจัยของคุณนั้นประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย