4 เทคนิคในการเลิอกการวิเคราะห์บทความมาใช้ในการวิจัย

(ผมสรุปมาจากหนังสือเล่มไหนสักเล่มนี่แหล่ะ แต่จำไม่ได้ มันนานแล้ว)

  1. “ปัญหาการวิจัย” ของบทความคืออะไร
  • ในแง่ข้อเท็จจริง (fact) ไอ้ปัญหานี้เนี่ย มันมีที่มาที่ไปหรือไม่ มันเป็นปัญหาจริงๆ หรือไม่
  • ถ้าใช่ แล้วในแง่ของแรงจูงใจ (motivation) มันสำคัญจนถึงขนาดต้องเอามาทำวิจัยหรือไม่
  1. บทความนี้เขียนให้ใครอ่าน
  • ในบทความมีการกำหนดปัญหา วัตถุประสงค์ ระเบียบวิธี สมมติฐาน นิยาม ฯลฯ ชัดเจนหรือไม่
  • บทความเป็นบทความเชิงทฤษฏี หรือบทความที่ได้จากการวิจัยเชิงประจักษ์
  1. บทความมีการทบทวนวรรณกรรมเพียงพอหรือไม่
  • เมื่อผู้วิจัยกำหนด “ปัญหาการวิจัย” แล้ว เขาได้ค้นคว้าแนวทางการศึกษา (approaches) ต่างๆ ของงานวิจัยในอดีตอย่างครอบคลุมหรือไม่
  • ผู้วิจัยมีการประเมินจุดอ่อน จุดแข็งของผลการศึกษาในอดีตชัดเจนหรือไม่ อย่างไร
  • ผู้วิจัยสามารถชี้ gap ของผลงานวิจัยในอดีตออกมาได้หรือไม่
  1. แล้ววิธีการศึกษาของตัวผู้วิจัยเองล่ะ
  • 1) เป็นการสานต่อวิธีการเก่าๆ อันใดอันหนึ่ง หรือ 2) การเอาวิธีการเก่าๆ หลายวิธีมารวมกัน หรือ 3) ผู้วิจัยเสนอวิธีใหม่เอี่ยมขึ้นมาเลย
  • แล้วผลที่ได้จากการศึกษามันตอบโจทย์ “ปัญหาการวิจัย” ได้ไหม เอาไปใช้ทำความเข้าเหตุการณ์จริงได้ไหม
  • โดยรวมแล้วมันยังมีจุดอ่อน จุดแข็ง หรือข้อบกพร่อง ที่ผู้อื่นสามารถนำไปวิจัยต่อได้บ้างไหม
  1. เอกสารอ้างอิง เพียงพอและเป็นประโยชน์ไหม
  • ผู้วิจัยอ้างอิงถูกต้องตามระเบียบวิธีไหม การอ้างอิงมีน้ำหนักเหมาะสมไหม ไม่ใช่อ้างอิงพร่ำเพรื่อ (name-dropping) หรืออ้างอิงมั่วๆ
  • แล้วเราในฐานะเอางานวิจัยมาใช้ ลองค้น google ดู แล้วเราเจอแหล่งข้อมูลสำคัญที่ตรงกับ “ปัญหาการวิจัย” แต่ผู้วิจัยไม่ได้อ้างอิงหรือไม่

You might also enjoy

3 ไอเดียสร้างแรงบันดาลใจในวันแรกที่กลับไปเรียน
3 ไอเดียสร้างแรงบันดาลใจในวันแรกที่กลับไปเรียน

🌟✨ วันแรกของการกลับไปเรียนอาจรู้สึกทั้งตื่นเต้นและท้าทาย แต่ถ้าคุณเริ่มต้นด้วยแรงบันดาลใจที่ดี จะทำให้วันเรียนวันแรกสดใสและเต็มไปด้วยพลัง!  ลองทำตาม 3 ไอเดียสร้างแรงบันดาลใจ เหล่านี้ แล้วคุณจะพร้อมสำหรับทุกการเรียนรู้! 1.

การพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัยเพื่อการศึกษา
การพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัยเพื่อการศึกษา

การพัฒนากรอบแนวคิด (Conceptual Framework) ในการวิจัยเพื่อการศึกษาเป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานของงานวิจัย กรอบแนวคิดเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้วิจัยมองเห็นภาพรวมของปัญหาที่ต้องการศึกษา และแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ในการศึกษาได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ กรอบแนวคิดยังช่วยให้ผู้วิจัยสามารถวางแผนวิธีการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีระบบมากขึ้น

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ?

การทำเล่มวิจัยจบไม่ใช่แค่การผ่านวิชา แต่เป็นการฝึกฝนทักษะที่สำคัญหลายด้านที่ช่วยให้เราเติบโตและพัฒนาไปสู่การเป็นนักคิด นักวิเคราะห์ และผู้เชี่ยวชาญในอนาคต! ✨ 1. ฝึกการคิดเชิงวิพากษ์ 🧠 การวิจัยช่วยฝึกให้เราแยกแยะข้อเท็จจริงจากความคิดเห็น และตั้งคำถามกับสิ่งที่เรารับรู้

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย