งานวิจารณ์ งานวิจัยเรื่อง “ ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทย ”
- ชื่อเรื่องงานวิจัย
- สะท้อนเรื่องที่วิจัยหรือไม่
- กระชับหรือไม่
- มีการระบุตัวแปรที่สำคัญหรือไม่
- มีการระบุประชากรที่ศึกษาหรือไม่
- มีการระบุสถานที่ศึกษาหรือไม่
- สะท้อนแนวทางวิธีการศึกษาและวิเคราะห์หรือไม่
ชื่องานวิจัยเรื่องนี้ข้าพเจ้าคิดว่า ยังไม่ค่อยดีเท่าที่ควร คือไม่มีความกะทัดรัด ชัดเจน เพราะชื่อเรื่องมีความยาวเกินไป หากเปลี่ยนไปใช้ “ การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย” น่าจะมีความกระชับและสื่อความหมายได้ครอบคลุมกว่าการระบุคำว่าประสิทธิภาพ เนื่องด้วยคำว่า ประสิทธิภาพ ที่ผู้เขียนกล่าวถึงนั้น ประสิทธิภาพหมายถึง
2.บทคัดย่อ Abstract - มีการกล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ ระเบียบวิธี ผลการวิจัย และให้ข้อเสนอแนะหรือไม่
- มีจำนวนคำและความยาวที่เหมาะสมหรือไม่
- กระชับและชัดเจนหรือไม่
- สะท้อนเรื่องที่ศึกษาหรือไม่
บทคัดย่อนี้ข้าพเจ้าคิดว่า มีการกล่าวถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษา บอกถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ศึกษาว่าเป็นขั้นทุติยภูมิ
3.ปัญหาการวิจัย Research Problem - ปัญหาการวิจัยมีเขียนไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ มีการกล่าวถึงในส่วนเริ่มต้นของรายงานวิจัยหรือไม่ มีการเขียนแบบข้อคำถาม หรือเป็นประโยคบอกเล่า
- มีข้อสนับสนุนความเป็นมาความสำคัญหรือความรุ่นแรงของปัญหาหรือไม่
- มีการกล่าวถึงงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องหรือไม่ และมีการชี้ให้เห็นไม่ว่างานวิจัยนี้ เหมือนหรือต่างจากเรื่องอื่นอย่างไร หรืองานงานวิจัยนี้จะเติมช่องว่างของความรู้ได้อย่างไร
- มีการระบุตัวแปรหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่จะศึกษาหรือไม่
- มีการระบุธรรมชาติของประชากรที่ศึกษาหรือไม่
- มีการมองปัญหาภายใต้บริบทของกรอบแนวคิดทฤษฏีที่เหมาะสมหรือไม่
- ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการศึกษาปัญหานี้มีความสำคัญอย่างไรต่อการปฏิบัติการพยาบาล การสร้างองค์ความรู้หรือประเด็นอื่น
4.วัตถุประสงค์การวิจัย Purpose,Objective,Aim - มีความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัยหรือไม่
- เขียนชัดเจนหรือไม่ว่าผู้วิจัยมีแผนจะทำอะไร จะเก็บข้อมูลจากใคร ที่ไหน
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง Review of literature - เป็นการศึกษาอย่างขว้างขวางลึกซึ้งเกี่ยวข้องและครอบคลุมตัวแปรต่างๆที่วิจัยหรือไม่
- นำเสนอต่อจากบทนำและปัญหาการวิจัยหรือไม่
- ให้ความรู้เกี่ยวกับความรู้ที่มีอยู่ ช่องว่างของความรู้ และบทบาทของงานวิจัยเรื่องนี้ในการขยายหรือทดสอบความรู้หรือไม่
- มีการใช้ข้อมูลทั้งเชิงทฤษฏีและงานวิจัยหรือไม่
- แหล่งอ้างอิงส่วนใหญ่เป็นปฐมภูมิ หรือ ทุติยภูมิ มีความเป็นปัจจุบันหรือไม่
- แหล่งอ้างอิงสำคัญหรือข้อมูลสำคัญ มีการกล่าวไว้ถึงครบถ้วนหรือไม่
- การเขียนเรียงเป็นลำดับต่อเนื่องหรือไม่ น่าอ่าน น่าติดตามหรือไม่
- การเขียนเรียบเรียงใหม่โดยใช้ภาษาตนเอง หรือเป็นการคัดลองคำพูดมาจากแหล่งปฐมภูมิโดยตรง
- สะท้อนอคติของผู้วิจัยหรือไม่
- มีการเขียนเชิงวิพากษ์ เปรียบเทียบหรือไม่
- มีการสรุปสถานภาพองค์ความรู้ในหัวข้อนั้น State of the art หรือไม่
- ขอบเขตของการวิจัย
หลักในการเขียนขอบเขตของการวิจัย - มีการกำหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ชัดเจน หรือไม่อย่างไร
- กำหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่างชัดเจนหรือไม่
- กำหนดขอบเขตของตัวแปรที่ศึกษาชัดเจนหรือไม่
6.กรอบแนวคิดทฤษฏี
- มีการระบุกรอบแนวคิดทฤษฏีอย่างชัดเจนหรือไม่
- แนวคิด ทฤษฏี สอดคล้องเหมาะสมกับเรื่องที่ศึกษาหรือไม่
- ให้ความหมายของตัวแปรสำคัญอย่างชัดเจนหรือไม่
- สมมุติฐานได้มาจากกรอบแนวคิดทฤษฏีหรือไม่
- มีการระบุข้อความแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือไม่
- การใช้เแนวคิด ทฤษฏี มีความสม่ำเสมอตลอดงานวิจัยหรือไม่
- ทฤษฏีที่ใช้มาจากศษสตร์ทางการพยาบาลหรือสาขาวิชาใด หรือเป็นแนวคิดที่เกิดจากการผสมผสานงานวิจัยและทฤษฏีต่างๆ
7.สมมุติฐานการศึกษา
หลักในการตั้งสมมุติฐานของการวิจัย - เป็นการเขียนแบบมีทิศทางหรือไม่มีทิศทาง
- สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการวิจัยข้อใด
- บ่งบอกได้ว่ามีตัวแปรใดบ้างที่จะศึกษา อะไรเป็นตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ อะไรเป็นตัวแปรตาม
- สามารถทดสอบได้ด้วยสมมติฐานทางสถิติหรือไม่ และใช้สถิติใดทดสอบ
8.วิธีการรวบรวมข้อมูล Data collection procedure
- ข้อมูลมีการรวบรวมอย่างไร มีกี่วิธี
- วิธีรวบรวมข้อมูลมีความเหมาะสมกับการวิจัยหรือไม่
3.มีขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลที่ชัดเจนสำหรับตัวอย่างทุกคนหรือไม่ - ใครรวบรวมข้อมูล ผู้รวบรวมข้อมูลมีความเหมาะสมหรือไม่ ได้รับการฝึกอบรมอย่างไร
- ข้อมูลรวบรวมในสถานการณ์เช่นไร มีความกดดันไหม มีคนอื่นอยู่ในขณะเก็บข้อมูลไหม ผู้ให้
หลักการเก็บรวบรวมข้อมูล - มีวิธีการทดลอง หรือรวบรวมข้อมูลอย่างไร เป็นวิธีที่เชื่อถือได้หรือไม่
2.ขนาดตัวอย่างเหมาะสมหรือเพียงพอต่อการวิจัยหรือไม่ และกำหนดขนาดตัวอย่างไว้อย่างไร
9.การวิเคราะห์ข้อมูล
หลักในการวิเคราะห์ข้อมูล - สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล มีความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย/สมมติฐานการวิจัยหรือไม่ เพราะเหตุใดจึงใช้สถิตินั้น ๆ ในการตอบคำถามวิจัย
การแปลความหมายข้อมูล ตารางที่นาเสนอนั้นตอบจุดมุ่งหมายใดของการวิจัย การแปลความหมายอ่านแล้วเข้าใจชัดเจน/สับสน ใส่ความคิดเห็นส่วนตัวด้วยหรือไม่