ใส่ Reference ใน APA อย่างง่ายๆ

image2 (1).jpeg

ปัจจุบัน รูปแบบ APA (APA Style) กำหนดรูปแบบมาตรฐานในวารสาร หนังสือ และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Publication Manual of the American Psychological Association มีการปรับปรุงตลอดมา โดยมีกรรมการมาจากกลุ่มวิชาชีพต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ฉบับล่าสุด เป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6 พิมพ์/ลิขสิทธิ์ ค.ศ. 2010 

การใส่ Reference โดยใช้ Microsoft Word วิธีการใส่เอกสารอ้างอิง หรือ บรรณานุกรมเป็นการอ้างอิง Reference ในเนื้อหาและส่วนท้ายบทความหรือท้ายเล่ม ผู้เขียนบทความจะต้องรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมดที่ได้ใช้อ้างอิงในผลงานของตน หรือรายการเอกสารอ้างอิง (References List) หรือ บรรณานุกรม (Bibliography)นั่นเอง วันนี้เราจะมาแนะนำวิธีอย่างง่ายๆมาฝากกันค่ะ

วิธีสร้างรายการบรรณานุกรมอัตโนมัติ ด้วย Word

1. คลิกแถบเครื่องมือ References (อ้างอิง)

ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ

2. คลิก Insert Citation และ Add New Source เพื่อใส่ข้อมูลรายการหนังสือที่ค้นคว้ามา ได้ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ

3. เลือกมาตรฐานการเขียนบรรณานุกรมที่ต้องการ เช่น APA 6th Edition

ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ

4. คลิก Bibliography และ

ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ

5. คลิก Insert Bibliography ก็จะได้บรรณานุกรม เรียงรายการตั้งแต่ ก-ฮ และ A-Z

ไม่มีคำอธิบายรูปภาพ

งานเขียนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารวิชาการ บทความ ตำรา วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์และหนังสือวิชาการ หรืองานวิจัย เป็นการศึกษา ค้นคว้า ที่นำข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในงานเขียนของผู้เขียนอย่างเป็นระบบ ซึ่งผู้เขียนจะต้องระบุหลักฐานแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาอ้างอิงหรือการทำเป็น Reference นั่นเองค่ะ วิธีนี้จะช่วยให้คุณทำงานได้รวดเร็วและง่ายขึ้น 

Credit : Thailand Microsoft in Education

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย