หลักการสร้างแบบสอบถามที่ดี

หลักการสร้างแบบสอบถามที่ดี

วันนี้แอดมินมีเกร็ดความรู้ดี ๆ เกี่ยวกับ “หลักการสร้างแบบสอบถามที่ดี” มาให้เพื่อน ๆ อ่านกันค่ะ🙂

.

“แบบสอบถาม” คือรูปแบบของคำถามที่เป็นชุดที่ถูกรวบรวมไว้อย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นระบบ ใช้สำหรับวัดสิ่งที่ต้องการวัดจากกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมายให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริง เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันอย่างมาก เพราะการเก็บข้อมูลแบบสอบถามสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง

.

“หลักการสร้างแบบสอบถามที่ดี” มีดังนี้. . .

1.)เข้าใจเรื่องที่จะศึกษา : เพื่อนำไปใช้ประโยชน์อะไร ซึ่งไม่ควรมีหลายๆ เรื่องปะปนกันในการศึกษาครั้งหนึ่ง 

2.)ข้อมูลที่ควรต้องรู้ : หากเรารู้แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ก็จะทำให้เข้าใจชัดเจนว่าเราต้องใช้ข้อมูลอะไรมาศึกษา

3.)เลือกเครื่องมือและวิธีเก็บข้อมูล : เลือกเครื่องมือให้เหมาะสม โดยเครื่องมือมีหลายอย่าง เช่น แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น

4.)ประเมินคุณภาพเครื่องมือ : ก่อนจะนำไปจัดเก็บข้อมูลจริง เราจำเป็นที่จะประเมินคุณภาพเครื่องมือ เช่น ค่าความเที่ยงตรง ความเป็นปรนัย และความมีประสิทธิภาพ เป็นต้น แต่ตัวที่ผู้คนนิยมใช้คือ ความตรงของเครื่องมือ (Validity) กับความเชื่อมั่น (Reliability)

.

เพื่อน ๆ สามารถนำเทคนิคนี้ไปใช้กับงานของตัวเองได้เลยนะคะ🙂 หากมีปัญหาในการทำวิจัยติดต่อเรามาได้เลยค่ะ

————————————

📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

✨สอบถามข้อมูลทำวิจัย และจองคอร์สเรียน ติดต่อ:

.

📲Line: @ResearcherTH 

หรือกดลิงค์ shorturl.asia/pqG9V

.

🌐Website: https://researcherthailand.co.th

.

📲Tel: 096-789-9662 หรือ 064-914-1562

.

🎥Youtube: www.youtube.com/@researcherthailand

.

🎥Tiktok: @ResercherThailand

.

#วิจัย #งานวิจัย  #วิทยานิพนธ์ #วิจัยจบ #เล่มจบ #สอนทำวิจัย #รับสอนทำวิจัย #เรียนทำวิจัย #คอร์สสอนทำวิจัย #คอร์สติวออนไลน์ #คอร์สตัวต่อตัว #ปริญญาตรี #ปริญญาโท #ปริญญาเอก #วิจัยตัวร้าย

.

ขอบคุณข้อมูลจาก 𝘦𝘯𝘢𝘣𝘭𝘦𝘴𝘶𝘳𝘷𝘦𝘺.𝘤𝘰𝘮 

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย