รู้หรือไม่ “งานหนัก”ฆ่าคุณได้!

รู้หรือไม่ “งานหนัก”ฆ่าคุณได้!

ใครที่เคยคิดว่า “งานหนักไม่ทำให้ตายหรอก” คิดใหม่!

จากข้อมูลทางสถิติคนไทยทำงานเฉลี่ย 35-49 ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ 6-10 ชั่วโมง/วัน เพิ่มขึ้น 5.6 แสนคนจากช่วงเดียวกันของปี 2565 สอดคล้องกับข้อมูลทางสถิติของกรมสุขภาพจิตที่ว่า แรงงานอายุ 20-59 ปี ขอรับบริการสายด่วนจากกรมสุขภาพจิต เรื่อง”ความเครียด ไม่มีความสุขในการทำงาน” สูงเป็นอันดับ 1 ซึ่งอาจก่อให้เกิดอาการ Karoshi Syndrome หรือ โรคทำงานหนักจนตาย

โรคนี้มีอาการต่าง ๆ จนถึงขั้นเสียชีวิตได้เลยนะคะ เริ่มต้นด้วยอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ขาดสารอาหาร เครียดสะสม และมีภาวะทางจิตใจร่วมด้วยเช่น หดหู่ กดดันตัวเองตลอดเวลา และรู้สึกไร้ค่า ดังนั้นสิ่งที่ควรรีบตระหนักก็คือเรื่อง Work Life Balance นั่นเอง ก่อนที่จะสายเกินแก้นะคะ

มาเช็คกันว่าเพื่อน ๆ มีอาการที่เข้าข่ายจะเป็นโรคทำงานหนักจนตายหรือไม่?

  • คิดหมกมุ่นเรื่องงานตลอดเวลา ทำงานหนักติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
  • รู้สึกผิดที่จะหยุดพัก พักผ่อน หรือใช้สิทธิ์ลาตามกฎหมาย
  • มีปัญหาในการนอนหลับ
  • มีความผิดปกติทางอารมณ์ เช่น ฉุนเฉียวง่าย โมโหกับทุกเรื่อง

หากเพื่อน ๆ มีอาการที่กล่าวมาข้างต้น แอดมินแนะนำให้พักเรื่องงานลงบ้างนะคะ เพราะสุขภาพของคุณนั้นสำคัญที่สุดแล้วค่ะ ลองหาอะไรคลายเครียดทำบ้าง นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ปล่อยวางทางความคิด หรือหากกำลังเครียดลองปรึกษาสายด่วนสุขภาพจิตก็เป็นทางเลือกที่ดีค่ะ

————————————

📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

✨สอบถามข้อมูลทำวิจัย และจองคอร์สเรียน ติดต่อ:

.

📲Line: @ResearcherTH 

หรือกดลิงค์ shorturl.asia/pqG9V

.

🌐Website: https://researcherthailand.co.th

.

📲Tel: 096-789-9662 หรือ 064-914-1562

.

🎥Youtube: www.youtube.com/@researcherthailand

.

🎥Tiktok: @ResercherThailand

.

#วิจัย #งานวิจัย  #วิทยานิพนธ์ #วิจัยจบ #เล่มจบ #สอนทำวิจัย #รับสอนทำวิจัย #เรียนทำวิจัย #คอร์สสอนทำวิจัย #คอร์สติวออนไลน์ #คอร์สตัวต่อตัว #ปริญญาตรี #ปริญญาโท #ปริญญาเอก #วิจัยตัวร้าย #KaroshiSyndrome #โรคทำงานหนักจนตาย #ทำงานหนัก #เครียด

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย