จริยธรรมการวิจัย คืออะไร

ความหมายของจริยธรรมการวิจัย

จริยธรรมการวิจัย (research ethics) หมายถึง หลักเกณฑ์ที่ควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยเพื่อให้การดำเนินงานวิจัยตั้งอยู ่บนพื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสม (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห ่งชาติ2541 อ้างใน สินธะวา คามดิษฐ์2550: 262) ข้อสังเกต นอกจากคำว่าจริยธรรมในการวิจัยแล้ว ยังมีคำอื่นที่นักวิจัยกล่าวถึงบ่อยครั้ง เช่น คำว่า ‘จรรยาบรรณในการวิจัย’หรือ‘จรรยาบรรณของวิจัย’อย ่างไรก็ตาม หากพิจารณาในรายละเอียดของสองคำนี้แล้ว พบว่าคำเหล่านี้มีหลักการและแนวคิดที่คล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกัน กล่าวคือ ทั้งสองคำข้างต้นจะเน้นในเรื่องหลักเกณฑ์ที่ควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัย (ชาย โพธิสิตา2547สุชาต ประสิทธิ์รัฐสินธุ์2542สินธะวา คามดิษฐ์2550) ดังนั้นบทความนี้จะใช้คำว่า ‘จริยธรรมการวิจัย’ ซึ่งตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า research ethics เพื่อสื่อความหมายในเรื่องการประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้องของนักวิจัยในการทำวิจัย

ปัญหาการขาดจริยธรรมการวิจัย

 ในฐานะนักวิจัยและกรรมการพิจารณาผลงานวิจัย ผู้เขียนได้พบเจอปัญหาการขาดจริยธรรมการวิจัยของนักศึกษาและนักวิจัยในหลายๆประเด็น ซึ่งพอสรุปประเด็นสำคัญได้ดังนี้ การคัดลอกผลงาน ข้อความ หรือความคิดเห็นของผู้อื่น (บางส่วนหรือทั้งหมด) โดยไม่อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล หรือบางรายอาจคัดลอกผลงานแล้วนำมาใช้เป็นผลงานของตนเอง การขโมยความคิดหรือคำพูดของผู้อื่นโดยไม่ได้อ้างอิง (plagiarism)

 การเขียนทบทวนวรรณกรรมโดยไม่อ้างถึงเจ้าของผลงานหรือแหล่งข้อมูล การนำข้อความของผู้อื่นมาดัดแปลงตัดต่อหรือแก้ไขเพื่อเป็นข้อความของตนเอง แต่ไม่อ้างถึงเจ้าของผลงานเดิม  การแก้ไขผลการวิจัย ตัวเลข หรือข้อมูลบางอย่างที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง การเปิดเผยหรือไม่เก็บความลับของผู้ให้ข้อมูล รวมทั้งการขาดความรับผิดชอบต่อการรักษาข้อมูลการปฏิบัติต่อผู้ให้ข้อมูลอย่างไม่เป็นธรรม การสร้างภัยคุกคามให้แก่ผู้ให้ข้อมูล หรือ การทำให้ผู้ให้ข้อมูลได้รับอันตรายหรืออับอาย จากการวิจัย การเขียนข้อเสนอแนะจากแนวคิดของผู้อื่น แต่ไม่อ้างถึงเจ้าของแนวคิดนั้น การจ้างวานผู้อื่นทำงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ให้บางส่วนหรือทั้งหมด การขาดความรับผิดชอบในการทำวิจัยหรือการดำเนินงานวิจัยให้เสร็จสิ้นตามกำหนดเวลาจากปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น สะท้อนให้เห็นความสำคัญของจริยธรรมการวิจัย และเหตุผลที่ว่าทำไมเราต้องมีประเด็นเรื่องจริยธรรมการวิจัย เพราะสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นข้างต้นอยู่ใกล้ตัว และเกี่ยวข้องโดยตรงกับนักวิจัย รวมทั้งอาจสร้างความเสียหายให้แก่งานวิจัย หรือผลกระทบต่อผู้อื่นโดยเฉพาะผู้ให้ข้อมูล ดังนั้น เรื่องจริยธรรมการวิจัยจึงมีความสำคัญเพื่อให้นักวิจัยได้ยึดถือและพึงปฏิบัติในการดำเนินการวิจัยให้ถูกต้อง เหมาะสม และเป็นที่ยอมรับในสังคมปัจจุบันมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยได้เสนอแนวทางปฏิบัติเรื่องจริยธรรมการวิจัยไว้หลายประเด็นเพื่อให้แนวปฏิบัติเหล่านั้นช่วยลดปัญหาการขาดจริยธรรม และเพื่อให้นักวิจัยยึดถือเป็นข้อควรปฏิบัติในฐานะนักวิจัย ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

แนวทางปฏิบัติเรื่องจริยธรรมการวิจัย

1. จรรยาบรรณของนักวิจัย

คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติสาขาสังคมวิทยาได้ตระหนักถึงความสำคัญของจรรยาบรรณในการวิจัย จึงได้กำหนดจรรยาบรรณนักวิจัยเพื่อให้นักวิจัยในสาขาต่างๆ นำไปปฏิบัติและเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศโดยมีหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติดังนี้

1.1 นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ

1.2 นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย

1.3 นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ทำวิจัย

1.4 นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย

1.5 นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย

1.6 นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด ปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย

1.7 นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ

1.8 นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น

1.9 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ

2. จริยธรรมการวิจัยในสถาบันการศึกษา

นอกจากแนวทางปฏิบัติในเรื่องจริยธรรม (จรรยาบรรณ) สำหรับนักวิจัยในระดับวงกว้างข้างต้นแล้วนักวิชาการยังได้เสนอแนะแนวทางปฏิบัติในเรื่องจริยธรรมการวิจัยในสถาบันการศึกษาในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับนักวิจัยโดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้

2.1 อบรมให้ความรู้ด้านจริยธรรมการวิจัยแก่นักศึกษาและแนวปฏิบัติแก่ผู้ทำการวิจัย

2.2 ติดตามดูแล ให้คำปรึกษาแก่ผู้ทำการวิจัยเพื่อป้องกันการกระทำที่ละเมิดกฎเกณฑ์จริยธรรมการวิจัย

2.3 พยายามป้องกันและขจัดสถานการณ์ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อนไม่ให้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการวิจัย

2.4 การลงโทษจะต้องรุนแรงเพียงพอที่จะเป็นเยี่ยงอย่างป้องกันไม่ให้คนอื่นทำตาม

2.5 ให้ความคุ้มครองผู้ที่นำเรื่องที่มีการละเมิดจริยธรรมวิจัยมาแจ้งกับผู้บังคับบัญชาหรือผู้ดูแล

2.6 สร้างบรรยากาศของการวิจัยที่ดีและเข้มงวด รวมทั้งให้รางวัลแก่นักวิจัยที่ดีและลงโทษผู้กระทำผิดจริยธรรมการวิจัย

3. ประเด็นจริยธรรมการวิจัยในคน

นอกจากหลักจรรยาบรรณของนักวิจัยแล้ว นักวิจัยหลายท่านยังได้กล่าวถึงประเด็นจริยธรรมการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ ‘คน’ (people)ทางสังคมศาสตร์ ซึ่งงานวิจัยทางสังคมศาสตร์จำนวนไม่น้อยที่เกี่ยวข้องกับ ‘คน’ ซึ่งอาจเป็นนักท่องเที่ยว ชาวบ้าน พนักงาน ผู้ประกอบการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นต้น โดยผู้วิจัยจำเป็นต้องเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคคลเหล่านั้นด้วยการสอบถามหรือการสัมภาษณ์ ดังนั้นนักวิจัยทางสังคมศาสตร์จึงควรทราบถึงประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในคนด้วยเช่นกัน ผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลและสรุปเป็นหัวข้อต่างๆ ดังนี้

3.1 หลักจริยธรรมพื้นฐานในการวิจัยทางสังคมศาสตร

3.2 การปกป้องความเป็นส่วนตัวและการรักษาความลับ

Credit: https://so05.tci-thaijo.org

#เรียนวิจัย #รับติวสอบ #รับปรึกษางานวิจัย #ทำdissertation #ทำthesis #ทำวิทยานิพนธ์ #ทำวิทยานิพนธ์ปตรี #ทำวิทยานิพนธ์ปโท #ทำวิทยานิพนธ์ปเอก #สอนโปรแกรมSPSS #รับทำงานวิจัย #ที่ปรึกษางานวิจัย #รับทำดุษฎีนิพนธ์ #รับติววิทยานิพนธ์ #รับติวธีสิส #รับติวสารนิพนธ์ #รับติววิจัย #รับติวงานวิจัย #รับสอนวิทยานิพนธ์ #รับสอนธีสิส #รับสอนสารนิพนธ์ #รับสอนวิจัย #รับสอนงานวิจัย #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ #รับปรึกษาธีสิส #รับปรึกษาสารนิพนธ์ #รับปรึกษาวิจัย #รับปรึกษางานวิจัย #รับติววิทยานิพนธ์ปตรี #รับติววิทยานิพนธ์ปโท #รับติววิทยานิพนธ์ปเอก #รับสอนวิทยานิพนธ์ปตรี #รับสอนวิทยานิพนธ์ปโท #รับสอนวิทยานิพนธ์ปเอก #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปตรี #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปโท #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปเอก #สอนทำวิจัย ##รับสอนดุษฎีนิพนธ์ #รับติวดุษฎีนิพนธ์ #รับปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ #ปรึกษาวิทยานิพนธ์ #ปรึกษาวิจัย #ปรึกษางานวิจัย #ทำวิจัยปโท #phdthesis #หัวข้อวิทยานิพนธ์ #รับทำdissertation #บริษัทรับทำวิจัย #รับเขียนบทความวิชาการ #thesiswriter #spssราคา #ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ #ทำวิจัยพยาบาล #รับปรึกษาวิจัย #ราคารับทำงานวิจัย#รับทำวิจัยSTATA  #รับวิเคราะห์ข้อมูลSTATA  #รับทำSTATA  #รับแปลผลSTATA  #รับทำ#วิทยานิพนธ์STATA

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย