ความแตกต่างระหว่างสารนิพนธ์กับวิทยานิพนธ์

researcherthailand

ความแตกต่างระหว่างสารนิพนธ์กับวิทยานิพนธ์

  1. สารนิพนธ์กับวิทยานิพนธ์ต่างก้นที่ งานสารนิพนธ์ศึกษาแนวคิด (concept) หรือตัวแปร (variable) ตัวเดียว ใช้สถิติหรือการวิเคราะห์อย่างง่าย และจำกัดบริบทที่ศึกษา ส่วนวิทยานิพนธ์ศีกษาแนวคิดความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (causal relationship) การวิเคราะห์จึงต้องเพิ่มสถิติเชิงอ้างอิง (referential statistics) เช่น t-test independent และหรือ F-test ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพก็ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) เช่นเดียวกับสารนิพนธ์ แต่อาจมีความเข้มข้นเรื่องคุณภาพของความถูกต้อง (validity) และความเชื่อมั่น (reliability มากกว่า)
  2. การตัดสินใจเลือกว่าจะทำสารนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ระดับปริญาโทมีปัจจัยบุคคลอยู่สองกลุ่ม กลุ่มแรกคือนักศีกษา ส่วนใหญ่อยากจบง่ายก็จะเลือกสารนิพนธ์ ข้อดีคือน้กศึกษาไม่ยุ่งยาก หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนก็ไม่ยุ่งยาก แต่ข้อเสียคือนักศึกษาไม่มีประสบการณ์เต็มที่ในการเขียนงานวิจัย และอาจมีปัญหาไม่ได้รับการยอมรับถ้าต้องทำหน้าที่ทางวิชาการ เช่นเป็นอาจารย์หรือครู และหรือการไปสมัครเรียนต่อในหลักสูตรปริญญาเอกที่เคร่งครัด ส่วนการเลือกทำวิทยานิพนธ์มีข้อดีคือทำให้นักศึกษามีความรู้ เป็นที่ยอมรับทางวิชาการ และมีโอกาสเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกที่ตั้งมาตรฐานการสอบคัดเลือก
    3.การทำงานวิจัยนักศึกษาต้องตั้งโจทย์หรือคำถามการวิจัย (research question) ให้ถูกต้องเหมาะสม ควรเป็นคำถามที่เฉพาะเจาะจง เพราะการทำงานนิพนธ์ก็คือหาคำตอบคำถามการวิจัยให้ครบถ้วน ถ้าตั้งคำถามไม่ชัดเจนหรือมากเกินไป คำตอบก็ไม่ชัดเจนหรือไม่ถูกต้องเช่นกัน ส่วนเครื่องมือเก็บข้อมูลการวิจัย แบ่งง่ายๆ เป็นเครืองมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งก็คือมาตรประมาณค่า (rating scale) และเครื่องมือเก็บเครื่องมือเชิงคุณภาพ ส่วนใหญ่เป็นแบบสัมภาษณ์ (interview form)

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย