ขั้นตอนในการสอบวิทยานิพนธ์

ขั้นตอนในการสอบวิทยานิพนธ์

 1. ก่อนวันสอบวิทยานิพนธ์ – ภายใน 2 สัปดาห์ก่อนสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย – ส่งค าร้องขอสอบปากเปล่าวิทยานิพธน์ (บว.07) โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาลง นามก่อนส่งบัณฑิตวิทยาลัย พร้อมยื่นแบบฟอร์มเสนอประธานการสอบและผู้ทรงคุณวุฒิ (เมื่อส่งแล้วจะได้ใบตามค าร้องมารอประมาณ 1 สัปดาห์) – ส่งบทความที่จะลงตีพิมพ์ในวารสารหรือประชุมวิชาการ โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา – หลังจาก 1 สัปดาห์ (หรืออาจจะเร็วกว่านั้น) ติดตาม บว. 07 ตามเลขที่ค าร้อง – เมื่อได้ บว.07 กลับมาแล้วจะทราบชื่อหรือได้ชื่อประธานการสอบ และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกตามที่ขอเสนอนั้น ให้ด าเนินการติดตามกรรมการ ทั้งหมดรวมทั้งประธานการสอบและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เพื่อลงนามและนัดวันสอบตามช่วงเวลาดังนี้ – เวลา 09.00 – 12.00 น. – เวลา 13.00 – 16.00 น. – เวลา 16.00 – 19.00 น. – หลังจากได้วันสอบแล้ว ให้ประธานการสอบและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกลงนามไม่ขัดข้อง และให้เล่มปกอ่อนแก่กรรมการ (กรณีที่คนใดคนนึงขัดข้อง จะต้องติดต่อหากรรมการผู้นั้นใหม่ หลังจากได้แล้วให้โครงการฯ ท าหนังสือบันทึกเสนอแนบไปกับ บว.07 เพื่อให้ทางบัณฑิตเปลี่ยนชื่อให้และรับ กลับมาเพื่อให้กรรมการท่านนั้นลงนามไม่ขัดข้อง) – แจ้งวัน เวลาสอบกับทางโครงการฯ เพื่อจัดเตรียมห้องสอบไว้ให้ – หลังจากส่งใบ บว.07 (ประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนสอบ) ให้เตรียมเอกสารเพื่อใช้ในวันสอบดังนี้ รูปเล่มปกอ่อนวิทยานิพนธ์ (กรณีที่ให้ กรรมการยังไม่ครบ) ไฟล์เอกสาร PowerPoint และปริ๊นตามจ านวนกรรมการที่เข้าสอบวิทยานิพนธ์ – กรณีที่ส่งใบค าร้อง บว.07 ไม่ถึง 1 สัปดาห์ ให้เขียนค าร้องทั่วไปเพื่อขอสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายก่อน 7 วัน โดยผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา และประธานโครงการฯ ลงนาม แนบส่งพร้อมบว.07 และรอรับหนังสือนัดสอบพร้อมใบแจ้งผลแจกให้กรรมการทุกท่านก่อนวันสอบหรือในวันสอบก็ได้ – ก่อนสอบ 1 วันให้โทรศัพท์แจ้งกรรมการที่เข้าสอบทุกคน อีกครั้ง – หากนิสิตต้องการใช้Notebook ของนิสิตเองและใช้ LCD โครงการให้มาทดลองเครื่องก่อนวันสอบ – เรื่องอาหารว่างส าหรับกรรมการในห้องสอบ โครงการฯ ได้จัดเตรียมให้ท่านละ 1 ชุดมีกาแฟ 1 แก้ว ขนม 1 ชิ้น (แต่ถ้านิสิตต้องการน ามาเพิ่มเติมก็ได้)

2. ในวันสอบวิทยานิพนธ์ – ตรวจสอบเอกสาร PowerPoint ฉบับที่ Presetและฉบับที่ปริ๊นให้กับกรรมการทั้งหมดว่าครบหรือยัง – หนังสือนัดสอบให้คณะกรรมการทุกท่านในห้องสอบ ในหนังสือนัดสอบนั้นจะมีใบเปลี่ยนชื่อและใบแจ้งผลรวมอยู่ในนั้น หากมีการ เปลี่ยนชื่อให้น าให้กรรมการทุกท่านลงนามก่อนออกจากห้องสอบด้วย – ควรมาก่อนเวลาสอบอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมงเพื่อเตรียมอุปกรณ์ในการสอบ (Notebook, LCD หรืออื่นๆ) – โทรศัพท์ยืนยันการสอบกับกรรมการอีกครั้งก่อนสอบ (เผื่อครั้งแรกแจ้งไว้นานแล้ว) – หลังสอบเสร็จให้น าใบแจ้งผลส่งให้กับเจ้าหน้าที่โครงการฯ เพื่อส่งให้ประธานโครงการฯ ลงนามต่อไป

 3. หลังวันสอบวิทยานิพนธ์) – ภายใน 2 สัปดาห์หลังสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย ส่งเล่มเพื่อตรวจฟอร์มพร้อม วพ. 01(เข้าเล่มปกอ่อน) โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึกษาหรือกรรมการสอบแล้ว (ระหว่างนี้สามารถขอใบปลดหนี้จากส านักหอสมุดได้และติดตามเรื่องบทความที่จะลงตีพิมพ์ในวารสารหรือประชุม วิชาการ) – ส่งค าร้องทั่วไป (บว.01) [อาจารย์ไม่ต้องลงนาม] เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร (รายละเอียดตามที่เอกสารที่บัณฑิตแจ้งมา) – 3 สัปดาห์หลังสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย รับเล่มพร้อม วพ. 01 คืนและแก้ไขตามที่บัณฑิตแจ้ง – ภายใน 4 สัปดาห์หลังสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย ต้องด าเนินการดังต่อไปนี้ – ส่งต้นฉบับวิทยานิพนธ์พร้อม วพ. 02 (ไม่ต้องเข้าเล่ม)และเอกสารแนบตามรายการด้านหลัง วพ.02 – ส่งใบแจ้งการแก้ไข/เปลี่ยนแปลงชื่อวิทยานิพนธ์ (ถ้ามี) – ภายใน 5 สัปดาห์หลังสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย ให้รับเล่มต้นฉบับวิทยานิพนธ์พร้อมหลักฐานที่ได้รับการตรวจสอบแล้วจัดท ารูปเล่มและ ลงนามผู้ส าเร็จการศึกษาที่บัณฑิตวิทยาลัยต่อไป – วันที่ที่ได้ก าหนดไว้ในทุกขั้นตอน หากตรงกับวันหยุดราชการให้ถือวันท าการปกติต่อไปเป็นวันก าหนดนัด – เมื่อสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายแล้ว หากไม่สามารถส าเร็จ การศึกษาภายในภาคการศึกษาถัดไป ให้ถือว่าการสอบปากเปล่าครั้งนั้นเป็นโมฆะ ทั้งนี้ ตั้งแต่ภาคปลาย ปีการศึกษา 2548 เป็นต้นไ

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย