การเตรียมตัวสอบเค้าโครง และตอบคำถามในการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์

การเตรียมตัวสอบเค้าโครง และตอบคำถามในการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์

การสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจและศักยภาพของนักศึกษาในการทำวิทยานิพนธ์ และคุณภาพของเค้าโครงวิทยานิพนธ์  เพื่อให้แน่ใจว่านักศึกษาจะสามารถดำเนินงานวิจัยจนได้ผลงานวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอ โดยก่อนจะทำการขึ้นสอบ นักศึกษาควรจะต้องมีความเข้าใจในเค้าโครงวิทยานิพนธ์ของตนเองอย่างถ่องแท้ และต้องเตรียมสื่อประกอบการนำเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ให้เรียบร้อย เช่น  การจัดทำเนื้อหาด้วยโปรแกรม  power  point หรือวิธีอื่นๆ

นักศึกษาจะต้อง จัดเตรียมห้องสำหรับการสอบ ทำการนัดหมายอาจารย์ผู้สอบ ซึ่งอาจมีประมาณ 3-5 คน จัดส่งเค้าโครงให้กรรมการสอบอ่านล่วงหน้าอย่างน้อย 5-7 วัน โดยในการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์นักศึกษาจะมีเวลาในการเสนออย่างจำกัด ต้องสรุปสาระสำคัญให้กระชับตรงตามเวลา กรรมการสอบ ซึ่งได้ศึกษาเค้าโครงของนักศึกษามาแล้ว  ย่อมต้องการเวลาสำหรับซักถามมากกว่าที่จะฟังรายละเอียดจากการนำเสนอ โดยทั่วไปนักศึกษาทุกคนจะได้รับข้อเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขเค้าโครงวิทยานิพนธ์ไม่มากก็น้อย (บางกรณีอาจสอบตก  ต้องทำใหม่)  ทั้งนี้หากนักศึกษาแน่ใจว่าสิ่งที่ตนคิดไว้มีเหตุผลและดีพอก็ย่อมที่จะชี้แจงและ “defend”  ได้  เพราะการรับข้อเสนอทุกอย่างไปแล้ว อาจเกิดปัญหาใหม่ภายหลังได้  เมื่อเสร็จสิ้นการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์แล้ว  นักศึกษาต้องรีบดำเนินการแก้ไขปรับปรุงเค้าโครงวิทยานิพนธ์ให้เรียบร้อยโดยเร็วและดำเนินการจัดส่งทันเวลาที่กำหนด

ตัวอย่างคำถามในการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์

          – Why do you want to do this research ? (ทำไมคุณจึงต้องการทำวิจัยเรื่องนี้?)

          – How did you pick this topic ? (คุณได้หัวข้อนี้มาอย่างไร?)

          – How are you doing with your literature search ? (คุณดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง?)

          – What are you hunches about what your findings may reveal ? (คุณจะจัดการอะไรบ้างกับข้อค้นพบที่อาจจะเกิดขึ้นได้?)

          – What are you reason for choosing this strategy ? (เหตุผลที่คุณเลือกยุทธศาสตร์นี้คืออะไร?)

          – How is your study likely to contribute to out knowledge ? (การศึกษาของคุณจะก่อให้เกิดความรู้ของเราได้อย่างไร?)

          – what other procedures might you consider ? (วิธีการปฏิบัติงานอื่นๆ ที่คุณจะพิจารณาใช้คืออะไร?)

          – what are the competing theories which are being addressed in your study ? (อะไรคือการให้ทฤษฎีมีความสมบูรณ์ซึ่งจะนำมาศึกษาของคุณ?)

          – What is the basic argument which are addressing in your study ? How well are you addressing this is sue ? (อะไรคือเหตุผลเบื้องต้นในการตั้งหัวข้อวิจัยของคุณ  และคุณตั้งหัวข้อนี้ได้ดีเพียงใด?)

          – What are going to do next and why ? (ต่อนี้ไปคุณจะทำอะไร  และทำไมจึงต้องทำเช่นนั้น?)

          – What problem are you finding ? How are you handing them ? (ปัญหาที่คุณกำลังเผชิญอยู่คืออะไร คุณจะดำเนินการกับปัญหาเหล่านั้นอย่างไร?)

          – What criteria will you use in selecting your sample ? (คุณจะใช้เกณฑ์ใดในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง?)

          – What theories (implicitly or explicitly) are contributing to the desing of your study ? (ทฤษฏีอะไร (ทั้งโดยนัย  และที่ปรากฏชัด) ที่ทำให้เกิดแบบวิธีที่คุณศึกษา?)

          – Can you document the history evolution of theory ? (คุณศึกษาเอกสาร และข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์เกี่ยวกับทฤษฎีนี้ได้หรือไม่?)

          – What confidence do you have that your analysis is comprehensive ? (คุณมั่นใจหรือว่าการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์เกี่ยวกับทฤษฏีนี้ได้หรือไม่?)

          – What confidence do you have that you analysis is comprehensive ? (คุณมั่นใจหรือว่าการวิเคราะห์ข้อมูลที่คุณใช้นั้นมีความครอบคลุมแล้ว?)

          – How will the finding of your study influence our knowledge and/or practice ? (ข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้จะมีอิทธิพลต่อความรู้ และ/หรือการปฏิบัติอย่างไร?)

  ขอให้นักศึกษาทุกคน มีความพร้อมในการเตรียมตัวสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และผ่านการสอบวิทยานิพนธ์ในระดับดีเยี่ยมทุกคนครับ

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย