การจัดการการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยระบบ E-learning และ Google Classroom

การจัดการการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยระบบ E-learning และ Google Classroom

โดย อ.ภควดี วรรณพฤกษ์

ระบบ E-learning (Moodle)
ฟังก์ชั่นการใช้งานที่สำคัญ

อัพโหลดเอกสารประกอบการเรียน (จำกัดขนาดที่ 100 MB/ไฟล์)
เชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลและสื่อบนอินเตอร์เนท เช่น คลิปวีดีโอ เว็บเพจ
สร้างแบบทดสอบ
สร้างช่องทางสำหรับส่งงานแบบออนไลน์
สามารถติดตามการใช้งานระบบโดยนักศึกษาได้ เช่น ได้เข้ามาดาวน์โหลดเอกสารประกอบการเรียนหรือไม่ ทำแบบทดสอบได้คะแนนเท่าไร
ข้อดี ข้อเสีย
· อัพโหลดและจัดการเอกสารประกอบการเรียนได้ง่าย เมื่อเทียบกับระบบ LSS และมีพื้นที่ในการจัดเก็บไฟล์มากกว่า · การสร้างแบบทดสอบซับซ้อนกว่าระบบ Google Classroom เล็กน้อย
· นักศึกษามีความคุ้นเคยกับระบบ E-learning ในระดับหนึ่งแล้ว · อาจแสดงผลไม่ถูกต้องเมื่อใช้งานผ่านสมาร์ทโฟนและ Tablet pc
· การใช้งานขั้นพื้นฐานไม่ซับซ้อน สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย
· ไม่มีข้อจำกัดเรื่องคอมพิวเตอร์และประเภทของเบราเซอร์ สามารถใช้งานได้ด้วยคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่
ระบบ Google Classroom
ฟังก์ชั่นการใช้งานที่สำคัญ

อัพโหลดเอกสารประกอบการเรียน (ไม่จำกัดขนาดไฟล์)
เชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลและสื่อบนอินเตอร์เนท เช่น คลิปวีดีโอ เว็บเพจ
สร้างแบบทดสอบและแบบสอบถาม
สร้างช่องทางสำหรับส่งงานแบบออนไลน์
ใช้งานเชื่อมโยงกับระบบอื่นๆของ Google เช่น Google Doc, Google Sheet, Google Draw
ข้อดี ข้อเสีย
· หากใช้งานคู่กับระบบจัดการเอกสารออนไลน์ เช่น Google Doc จะช่วยให้ตรวจสอบความคืบหน้าในการทำงานของนักศึกษาได้ง่ายขึ้น และสามารถให้คำแนะนำได้แบบ realtime · การประมวลผลแบบทดสอบซับซ้อนกว่าของระบบ E-learning
· ใช้งานได้จากสมาร์ทโฟนและ Tablet pc · การใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์ต้องการเบราเซอร์รุ่นใหม่ เช่น Chrome หรือ Firefox ที่ใช้ต้องเป็นรุ่นอัพเดทล่าสุด อาจพบปัญหาในการใช้งานผ่าน Internet Explorer
· หน้าตาของระบบสวยงาม ดูน่าใช้ · หน้าตาของระบบที่เน้นความสวยงามอาจทำให้หาปุ่มต่างๆไม่เจอ เพราะส่วนใหญ่จะใช้ไอค่อนสัญลักษณ์แทนคำพูดอธิบาย หากผู้ใช้ไม่มีประสบการณ์ในการใช้งานแอพพลิเคชั่นของ Google มาก่อน อาจพบว่าใช้งานยาก
· ไม่มี Student view

You might also enjoy

ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?
ทำไมเราถึงต้องทำเล่มวิจัยจบ🤔?

1️⃣ทำให้เกิดความรู้ใหม่ ทั้งในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ 2️⃣ทำให้เข้าใจในปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น 3️⃣ช่วยวางแผนการดำเนินงานและนโยบายได้อย่างเหมาะสม 4️⃣ทำให้ทราบข้อเท็จจริง และนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 5️⃣ช่วยกระตุ้นการตั้งข้อสังเกต ความมีเหตุผล

โครงร่างวิจัยคืออะไร?
โครงร่างวิจัยคืออะไร ?

โครงร่างวิจัย คือ สิ่งที่ผู้ที่ได้อ่านโครงร่างจะสามารถทราบขั้นตอนและรายละเอียดของเล่มวิจัย รวมถึงใช้โครงร่างวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาอนุมัติการทำวิจัย โดยจะต้องเป็นสิ่งที่ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่าวิจัยเล่มดังกล่าวเป็นวิจัยที่มีระเบียบวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ที่จะสำเร็จ เป็นประโยชน์ และสมควรได้รับการอนุมัติ โดยจะประกอบไปด้วย 1.)

วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️
วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)✏️

เป็นวิธีค้นหาความจริงจากเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ตามความเป็นจริง โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์กับสภาพแวดล้อมจากภาพรวมของหลายมิติ ผู้ทำวิจัยต้องลงไปศึกษาและสังเกต กลุ่มหรือบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดในทุกด้านแบบเจาะลึก ใช้วิธีสังเกตแบบการมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์ เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิงเหตุผลไม่ใช่ทางตัวเลข ———————————— 📖รีเสิร์ซเชอร์ เพื่อนคู่คิดงานวิจัย💡

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย